วันจันทร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555

สัปดาห์ที่16

วันที่28 เดือนกัันยายน พ.ศ.2555

                            วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษา บอกถึงประโยชย์ที่ไดรับจากการใช้แท็บแล็ดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่1 และผลเสียของการใช้แท็บแล็ดนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่1 พร้องแสดงความคิดเห็นว่าเหมาะสมหรือไม่ เพราะอะไร


                                         

                                  นอกจากนั้นอาจารย์ยังไดชี้แนะถึงประโยชย์ในการสร้างบล็อกวึงดิฉันสรุปได้ดังนี้
           1. สามารถช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้  ไม่ว่าจะอยู่ไหนก็ตาม  Blogger ช่วยให้ติดต่อกันไดสะดวก เนื่องจาก  Blogger เป็นเทคโนโลยีที่ติดต่อและแพร่หลายไปทั่โลก
           2. สามารถค้นคว้าเพิ่มเติมข้อมูลที่ขาดหายได้จาดเพื่อน  โดยที่ไม่ต้องเสียเวลาเปิดแฟ้มสะสมงานแต่สามารถ ค้นหาได้อย่างรวดเร็วจาก  Blogger

วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2555

เพิ่มเติม การอบรมการการประดิษฐ์จัดบอร์ดด้วยดอกไม้

รวมภาพถ่าย

 
ร่วมแรงร่วมใจกับเพื่อนๆ  ได้มา 1 ชิ้นที่ภูมิใจ


   ถ่ายคู่กับงานฝีมือตังเอง 


ภูมิใจมากช่อนี้ทำเองกับมือ


ของพี่ๆ ปี3


 กุหลาบทำจากทิชชู


 อันนี้ไม่ได้ทำเอง  แต่เอามาฝาก 

วันอาทิตย์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2555

สัปดาห์ที่ 15 วันที่ 21 กันยายน 2555




             อาจารย์ตรวจความเรียบร้อยของ Blogger ของนักศึกษา แล้วชี้แนะว่าเราต้องมีแหล่งเรียนรู้จากที่ไหนบ้าง แล้วสรุปสาระการเรียนรู้จากที่เราได้ทำ Blog ว่าเราได้ประโยชน์ด้านใดบ้าง
จากนั้นอาจารย์ให้นักศึกษาไปแก้ไข Blog ให้เรียบร้อยคะ



กระบวนการทำงาน สามารถสรุปได้ดังนี้
- ตั้งวัตถุประสงค์ขึ้นมาก่อน
- ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น การเข้าไปที่สื่อการเรียนรู้โทรทัศน์ครู
- จากนั้นนำมาวิเคราะห์
- แล้วนำมาปฏิบัติ

วิธีการเรียนรู้ จากที่เราได้เรียนและปฏิบัติมาสามารถสรุปได้ดังนี้
- การสร้างสื่อ, การผลิตสื่อ จากนั้นมีการวางแผน เช่น การทำปฏิทินภาษาสำหรับเด็ก
- การนำมาประยุกต์ใช้
- วิธีการร้องเพลง เช่น การนำทำนองเพลงของเพลงอื่นมาใส่เป็นทำนองเพลงที่เราแต่งขึ้นมาเอง
- การเล่านิทาน เช่น นิทานเล่าไปวาดไป นิทานเล่าไปฉีดไป และนิทานเล่าไปพับไป เป็นต้น
- การได้ลงมือปฏิบัติจริง เช่น การไปสัมภาษณ์เด็กที่โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม

ทักษะในการดำเนินชีวิต
- ต้องมีประสบการณ์
- ความชำนาญ
- การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น มีการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ยกตัวอย่างเช่น ที่เราทำ Blogspot





สัปดาห์ที่ 14 วันที่14 กันยายน 2555





วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษากลุ่มที่ยังไม่ได้ร้องเพลง ให้ร้องให้เสร็จ จากนั้นนักศึกษาแต่ละกลุ่มเล่านิทานหน้าชั้นเรียน นิทานจะมีเล่าไปวาดไป นิทานเล่าไปฉีกไป นิทานเล่าไปพับไป นิทานเล่าโดยการใช้เชือก โดยทั้งหมดมี 18 กลุ่ม ดังนี้

กลุ่มที่ 1 นิทานเรื่องช้างใจดี (เล่าไปฉีกไป)
กลุ่มที่ 2 นิทานเรื่องเจ้าแสนซน (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 3 นิทานเรื่องกระต่ายเพื่อนเกลอ (เล่าโดยใช้เชือก)
กลุ่มที่ 4 นิทานเรื่องโจรใจร้าย (เล่าโดยใช้เชือก)
กลุ่มที่ 5 นิทานเรื่องเจ้าแกละกับดวงอาทิตย์ (เล่าไปฉีกไป)
กลุ่มที่ 6 นิทานเรื่องกบน้อยแสนซน (เล่าไปฉีกไป)
กลุ่มที่ 7 นิทานเรื่องเจ้างูน้อยกับเถาวัลย์ (เล่าโดยใช้เชือก)
กลุ่มที่ 8 นิทานเรื่องต้นไม้ของเรา (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 9 นิทานเรื่องวันหยุดของน้องเบส (เล่าไปตัดไป)
กลุ่มที่ 10 นิทานเรื่องดาวเคราะห์ของยาย (เล่าไปวาดไป)
กลุ่มที่ 11 นิทานเรื่องตุ๊งแช่จอมซ่า (เล่าไปวาดไป)
กลุ่มที่ 12 นิทานเรื่องน้องมดอยากไปเที่ยวทะเล (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 13 นิทานเรื่องแพวิเศษ (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 14 นิทานเรื่องความสุขของคุณยาย (เล่าไปวาดไป)
กลุ่มที่ 15 นิทานเรื่องยักษ์สองตน (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 16 นิทานเรื่องพระจันทร์ไม่มีเพื่อน (เล่าไปตัดไป)
กลุ่มที่ 17 นิทานเรื่องพระอาทิตย์ยิ้มแฉ่ง (เล่าไปวาดไป)
กลุ่มที่ 18 นิทานเรื่องครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียง (เล่าไปวาดไป)

 ยกตัวอย่างนิทานการเล่าไปวาดไป



สัปดาห์ที่ 13 วันที่ 7 กันยายน 2555




วันนี้อาจารย์แจกแผ่นประดิษฐ์อักษรสำเร็จและสีไม้ คนละ 1 กล่อง


อาจารย์สรุป เรื่องของภาษา เริ่มจากการสังเกตของเด็ก การสัมภาษณ์เด็ก และการวิเคราะห์ทางภาษา (ภาษาเป็นเครื่องมือของการสื่อสาร)
สื่อที่ใช้ : ส่งเสริมทางภาษา ได้แก่ นิทาน เพลง คำคล้องจอง ปริศนาคำทาย
มุมประสบการณ์ทางภาษา ก็จะมี เช่น รูปภาพ นิทาน บัตรคำ
การส่งเสริมทางภาษามี 4 ด้านคือฟัง พูด อ่าน เขียน
ฟัง = เทปอัดเสียงนิทาน เสียงเพลง
พูด = หุ่นมือ (เด็กพูดกับหุ่นมือ)
อ่าน = หนังสือนิทาน
เขียน = กระดาษใส่กล่อง หรือกระดานขนาดเล็ก
มุมประสบการณ์ทางภาษาต้องการความเงียบสงบ ดังนั้นมุมที่ไม่ควรอยู่ใกล้ คือ มุมบล็อก
บูรณาการทางภาษาผ่านชีวิตประจำวัน 6 กิจกรรม มีดังนี้
-การทักทายคุณครู ก่อนเข้าโรงเรียน
เซ็นชื่อ/ลงชื่อ
-กิจกรรมหน้าเสาธง(สวดมนต์ไหว้พระ)
-เข้าห้องทำกิจกรรม วันจันทร์ = กิจกรรมเรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์
วันอังคาร = กิจกรรมของรัก-ของหวง
วันพุธ = กิจกรรมโฆษณา
วันพฤหัสบดี = กิจกรรมประชาสัมพันธ์
วันศุกร์ = เล่าข่าว(สิ่งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ตอนเช้า)
กิจกรรมการเคลื่อนไหว = ร้องเพลง/ทำท่าประกอบ
กิจกรรมศิลปะ = วาดภาพแทนคำพูด
กิจกรรมเสริมประสบการณ์(ขั้นนำ/ขั้นสอน/ขั้นสรุป) = ร้องเพลง/นิทาน/ประสบการณ์เดิม/เกม/คำคล้องจอง/การใช้คำถาม/ปริศนาคำทาย
กิจกรรมกลางแจ้ง = กติกา/ข้อตกลงต่างๆ
กิจกรรมเกมการศึกษา = จิ๊กซอ/โดมิโน/จับคู่/เรียงลำดับเหตุการณ์/ล็อตโต/ความสัมพันธ์สองแกน/อนุกรม
กิจกรรมสร้างสรรค์ = เช่น แต่งคำขวัญเกี่ยวกับ เหล้า






สัปดาห์ที่ 12 วันที่ 31 สิงหาคม 2555




อาจารย์ให้นักศึกษาทุกกลุ่มออกไปร้องเพลงที่แต่งมาพร้อมทำท่าประกอบเป็นกลุ่ม
กลุ่มของดิฉันร้องเพลงนิ้วของฉันและทำท่าประกอบดังนี้

รูปภาพประกอบเพง









อาจารย์ให้เพื่อนที่อยู่กลุ่มปฏิทินด้วยกัน แต่ งคำขวัญ ชวนเลิกเหล้า………….. มีดังนี้
1) กลุ่มอักษรกลาง สระอา พ่อจ๋าเลิกเหล้าเลิกจน ครอบครัวเป็นสุข
2) กลุ่มอักษรสูง สระอี ดูสิ!! เลิกเหล้าชีวิตสดใส ครอบครัวเป็นสุข
3) กลุ่มอักษรต่ำ สะแอะ ดูสิ!!กินเหล้าแล้วเมา กินข้าวดีกว่า
4) กลุ่มอักษรกลาง สระอิอี กอดเหล้ามันแย่ กอดแม่ดีกว่า
5) กลุ่มอักษรต่ำ สระอา หยุดดื่มหยุดเมา ทุกข์เราจะไม่มี
6) กลุ่มอักษรต่ำ สระโอะโอ คุณค่ะ!! กีฬาสร้างชีวิต เหล้าเบียร์สร้างปัญหา
7) กลุ่มอักษรกลาง สระอุอู พี่พี่!! เลิกเหล้าวันนี้ เพื่อชีวิตที่ดีในวันข้างหน้า
8) กลุ่มอักษรกลาง สระแอะเอ ผัวขา!! เลิกเหล้าเพื่อครอบครัว ดีกว่าเสียตัวไปมัวเมา
9) กลุ่มอักษรสูง สระอะอา เลิกเหล้า เลิกจน
10) กลุ่มอักษร สระ START ลด ละ เลิกเหล้า เพื่อเราเพื่อชาติ
11) กลุ่มอักษร สระ -
12) กลุ่มอักษรกลาง สระโอะโอ คอนเฟริม!! เลิกเหล้าเข้าใจชีวิต มวลมิตรจะสุขใจ
13) กลุ่มอักษรสูง สระอุอู ฟันธง!! เลิกเหล้า แล้วชีวิตจะพ้นจากโรคภัย
14) กลุ่มอักษรสูง สระโอะโอ (2) เลิกเหล้ากันเถอะ
15) กลุ่มอักษรกลาง สระเอะอา คุณแม่!! ขอร้องโตมาด้วยน้ำนมแม่อย่าให้มันแย่เพราะน้ำเมา
16) กลุ่มอักษรต่ำ สระอุอู ดื่มเหล้าตับแข็ง เสียทั้งแรงเสียทั้งเงิน
การบ้านสัปดาห์หน้า…………อาจารย์จะให้เล่านิทานสัปดาห์หน้า เนื่องจากเวลาไม่พอ

สัปดาห์ที่ 11 วันที่ 24 สิงหาคม 2555



กิจกรรมการเรียนการสอน
ให้นักศึกษาฟังเพลงที่อาจารย์เปิดให้ฟังและบอกว่า เพลงนี้บอกอะไรบ้าง วัตถุประสงค์ ฟังแล้วรู้สึกอย่างไร
ความรู้สึกที่ได้รับจากการฟังเพลง
ฟังแล้วรู้สึกว่าอยากไปเที่ยวเกาะสมุย เพราะในเพลงจะพรรณนาถึงความสวยงามของเกาะสมุย คนนิยมไปเที่ยวเกาะสมุย ฟังแล้วรู้สึกผ่อนคลายคล้ายๆตอนนี้กำลังเล่นน้ำทะเลที่เกาะสมุย
อาจรย์สอนเรื่องการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมเป็นพื้นฐาน


เพลงเกาะสมุย




อาจรย์สอนเรื่องการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมเป็นพืนฐาน                                      
นิทานเรื่องนี้จะสอนให้เด็กเห็นคุณค่าภายในตนและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
เราสามารถนำนิทานมาสอนเด็กๆและส่งเสริมทักษะทางภาษา การฟัง การพูด การอ่าน ส่งเสริมความสามารถในการจับใจความจากการดูภาพและฟังเรื่องราว ฝึกการแปลความ ตีความ คาดคะเน และสามารถถ่ายทอดเรื่องราวหรือความหมายให้ผู้อื่นฟัง ซึ่งเป็นพื้นฐานของการอ่าน

  เรื่องช้างน้อยอัลเฟรด


เรื่องย่อ
อัลเฟรดเป็นช้างที่มีงวงยาวมากอัลเฟรดรู้สึกอายที่ตนเองมีงวงยาวกว่าช้างตัวอื่นๆ 

จึงพยายามซ่อนงวงของตนวันหนึ่งอัลเฟรดได้ยินเสียงร้องขอความช่วยเหลือของเด็กผู้หญิง

คนหนึ่งที่ติดอยู่บนกระดานลื่น อัลเฟรดได้ใช้งวงช่วยเด็กผู้หญิงลงมาสัตว์อื่นๆพากันชื่นชม

อัลเฟรดตั้งแต่นั้นมาอัลเฟรดก็อยู่อย่างมีความสุขแม้ว่าตนเองจะไม่เหมือนใคร


เพลง ช้างน้อยอัลเฟรด 

คำร้อง ครูหญิง

ทำนอง Ten little Indian boys


เจ้าอัลเฟรดน้อยมีงวงยาวที่ไม่เหมือนใคร

เดิน เดิน เดินไป เดิน เดินไป เพียงแค่ตัวเดียว 

พยายามซ่อนงวง เก็บเอาไว้ ไว้ให้มิดเชียว

ฉันไม่อยากงวงยาวกว่าใคร

บนไม้ลื่นสูงมีเสียงใครร้องให้ช่วยอยู่

เดิน เดินไปดู เดินไปดู แล้วจะพบใคร

เด็กผู้หญิงคนหนึ่งติดอยู่บนไม้ลื่นสูงใหญ่

ฉันจะใช้งวงยาวช่วยเธอ

ช่วยเธอลงมาอย่างปลอดภัย

ได้ช่วยฉันก็เป็นสุขใจ


เกมการศึกษา
1 จับภาพเหมืน
2 โดมิโน
3 จิ๊กซอ
4 การศึกษารายละเอียดภาพ (ลอตโต้)
5 ความสัมพันธ์ของแกน (กราฟ)
6 การเรียงลำดับเหตุการณ์
7 อนุกรม
8 เกมอุปมา อุปไมย (ความสัมพันธ์)
งานที่อาจารย์สั่ง
แต่งเพลง
ท่าเต้นประกอบเพลง
เล่านิทาน (เล่าไปฉีกไป)